ค้นหารายการหนังสือบล็อกนี้

วันอาทิตย์, พฤษภาคม 10

จาริกบุญ-จารึกธรรม

จาริกบุญ-จารึกธรรม

นำ จาริกในงานพิมพ์


  • สารบัญ……………………………………………………………………………………(๙)
  • ลำ ดับกาลสังเขป…………………………………………………………………………..(๑๗)
  • จาริกบุญ-จารึกธรรม…………………..………………..๑
  • ๑ ย้อนทางเข้าสู่แดนพุทธภูมิ.......................................................... ๑
  • มองผ่านๆ ข้ามพุทธกาล สู่ยุคอโศก............................................๓
  • ชมพูทวีปในพุทธกาล .........................................................................๓
  • วัชชีสูญอำนาจ - มคธขึ้นเป็นศูนย์อำนาจ.............................................๙
  • ถ้าไม่ประมาท ก็ไม่เสื่อม..................................................................๑๒
  • มคธผ่านสู่ยุคอโศก .........................................................................๑๔
  • ทรัพย์และอำนาจ สู่ความหมายและคุณค่าใหม่.................................๑๙
  • มาถึงถิ่นพระเจ้าอโศกแล้ว ต้องรู้ไว้..........................................๒๗
  • ศิลาจารึกอโศก เป็นของพระเจ้าอโศกมหาราชแน่หรือ ........................๒๗
  • อโศกมหาราช - อโศกธรรม..............................................................๓๑
  • ธรรมวิชัย: หลักการใหญ่ที่นำเข้าสู่พุทธธรรม .....................................๓๕
  • อโศกธรรม หรือคหัฐวินัย .................................................................๓๗
  • ดูพุทธพจน์แล้ว อ่านธรรมโองการเทียบ.............................................๔๔
  • เทียบกันแล้ว ควรสรุปได้.................................................................๕๑
  • ความกล้าหาญในทางสันติ..............................................................๕๖
  • เลิกบูชายัญ เพียงเป็นฐาน สู่ความงอกงามในธรรม............................ ๖๑
  • ๒ เฝ้าพระพุทธเจ้าถึงที่ประทับ..................................................... ๖๙
  • ราชคฤห์: ศูนย์กลางการเผยแผ่พระพุทธศาสนา.................................๖๙
  • ศรัทธาและปัญญา นำเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า ........................................๗๒
  • ธรรม เป็นอิสระจากคน
  • คนถึงธรรม เป็นอิสระจากสังขาร..................................................๗๖
  • เอาธรรมไปเป็นหลักประกันชีวิตและสังคมไว้
  • ให้เจริญอย่างเดียวไม่มีเสื่อม .......................................................๘๓
  • ๓ ความยิ่งใหญ่ ที่ทำ ให้ทั้งเจริญและเสื่อม........................................ ๘๙
  • พระพุทธศาสนาเกิดขึ้นมา ก็เกิดการศึกษาแก่มวลชน.........................๘๙
  • วัดในพระพุทธศาสนา: ต้นกำเนิดมหาวิทยาลัยของโลก ......................๙๓
  • นาลันทากับความเสื่อมสูญของพระพุทธศาสนาจากอินเดีย ................๙๗
  • อวสานมาถึง เมื่อทัพมุสลิมเตอร์กลงดาบสุดท้าย ............................ ๑๐๒
  • ร่องรอยที่เหลืออยู่และเค้าการฟื้นฟูหลังหมดสิ้นไปแล้ว.................. ๑๐๕
  • พระพุทธศาสนาในมือของพุทธบริษัท ............................................ ๑๐๗
  • ๔ หัวใจธรรม จากจุดศูนย์กลาง.................................................๑๑๓
  • ราชคฤห์: ศูนย์อำนาจการเมือง เรื่องที่ร้อน ..................................... ๑๑๔
  • ก) ราชคฤห์ ถึง ปาตลีบุตร ..................................................................... ๑๑๔
  • ข) เรื่องของราชคฤห์............................................................................ ๑๑๗
  • มาฆบูชา กับ หัวใจพระพุทธศาสนา...................................... ๑๑๘
  • จากราชคฤห์นั้น เวฬุวันแผ่ความร่มเย็นแห่งมาฆบูชา ....................... ๑๑๘
  • สาระของโอวาทปาฏิโมกข์............................................................ ๑๒๑
  • ก) คาถาที่ ๑ ซึ่งเป็นตอนแรก .................................................................. ๑๒๒
  • ข) คาถาที่ ๒ คือตอนกลาง..................................................................... ๑๒๕
  • ค) คาถาที่ ๓ (กับครึ่งคาถา) คือตอนท้าย ..................................................... ๑๒๖
  • มาฆบูชา ขึ้นมาเป็นวันสำคัญในพระพุทธศาสนา............................ ๑๒๘
  • หัวใจเดียว แต่มีสี่ห้อง................................................................... ๑๓๑
  • วิธีอริยสัจ ได้ผลชะงัด ตั้งแต่สอนนักเรียน จนถึงปลุกระดมคน .......... ๑๓๖
  • ละชั่ว ทำดียังไม่พอ ต้องต่อด้วยไม่มีกิเลสเหลือในใจ ...................... ๑๓๙
  • มาฆบูชา กับ วาเลนไทน์.................................................... ๑๔๒
  • ความรัก วัดระดับการพัฒนาของคน.............................................. ๑๔๒
  • ถึงความรักจะดีก็ไม่พอที่จะเลี้ยงลูกและอภิบาลโลก....................... ๑๔๘
  • (๑๑)
  • มนุษย์กับมนุษย์รักกัน แต่มนุษย์ทุกคนต้องอยู่ให้ดีกับธรรม ..............๑๕๑
  • ให้รักกับรู้มาเข้าคู่ดูแลกัน ทั้งโลกจนถึงลูก จะสุขสันต์แท้จริง ........... ๑๕๕
  • มาฆบูชา พัฒนาความรักแห่งวาเลนไทน์และให้ดุลแห่งธรรม........... ๑๕๘
  • ๕ โพธิพฤกษ์ - โพธิญาณ ....................................................... ๑๖๕
  • ตรัสรู้ธรรม คือรู้เรื่องธรรมดา ..........................................................๑๖๘
  • ตรัสรู้แล้ว จะประกาศธรรมแสนยาก
  • คนเปิดปากปิดหูไม่อยากฟังว่าตัวต้องทำอะไร........................... ๑๗๓
  • จากเทพสู่ธรรม ธรรมกำหนดกรรม กรรมเรียกร้องสิกขา................... ๑๗๙
  • ก) จาก เทพสูงสุด เป็น ธรรมสูงสุด............................................................ ๑๗๙
  • ข) จาก “ธรรม” เพ่งแคบเข้ามาที่ “กรรม” ....................................................๑๘๐
  • ค) เพื่อให้ “กรรม” นำ ผลดี คนต้องมีการ “ศึกษา” ..........................................๑๘๑
  • มนุษย์ประเสริฐเพราะเป็นสัตว์ที่ฝึกได้............................................ ๑๘๔
  • พระรัตนตรัย ต้องรู้จักใช้ให้เป็นสรณะ............................................ ๑๘๙
  • พระรัตนตรัยเป็นยอดสรณะ
  • ที่โยงเราไปยังปัญญาซึ่งเห็นอริยสัจ........................................... ๑๙๓
  • ถ้าคนไม่ประสานกับธรรม
  • ก็ไม่มีทางแก้ปัญหาชีวิตและสังคม............................................ ๑๙๗
  • ๖ จุดเริ่มของแผ่นดินธรรม ........................................................๒๐๕
  • ฝนตกใหญ่ทำให้เวลาน้อย
  • เรียนได้เพียงที่ทางและถ้อยคำ.................................................. ๒๐๕
  • ก) ธรรมจักร ๒ ความหมาย .................................................................. ๒๐๕
  • ข) วัด ที่เหลือแต่ซาก........................................................................... ๒๐๗
  • ค) หลักศิลาจารึกอโศก แห่งที่เลื่องชื่อ........................................................ ๒๐๘
  • ง) เจาขัณฑีสถูป ............................................................................... ๒๐๙
  • จ) ธัมมราชิกสถูป ...............................................................................๒๑๐
  • ฉ) ธัมเมกขสถูป.................................................................................๒๑๑
  • ช) อิสิปตนมฤคทายวัน ทำ ไมเป็น สารนาถ.................................................... ๒๑๒
  • ฌ) พาราณสี ชื่อนี้ทำ ไมยืนยงนัก............................................................... ๒๑๔
  • (๑๒)
  • ๗ รักษาแผ่นดินไทย ให้เป็นแผ่นดินธรรม ....................................... ๒๑๙
  • พาราณสี ที่พระไทยมาศึกษา ................................................. ๒๒๐
  • ชาวพุทธไทย ใส่ใจบุญด้านทาน แต่การศึกษาไม่เอา ....................... ๒๒๐
  • - แม้แต่รัฐ ก็ยังคอยตัด ไม่ให้เด็กได้เรียนศีลธรรม ............................................. ๒๒๐
  • - ชาวพุทธไทย ไม่รู้ว่าความเป็นชาวพุทธอยู่ที่ไหน................................................ ๒๒๒
  • - พระเณรไทยก็เคว้งคว้าง ไม่รู้จะตั้งต้นและจะตั้งตัวไว้ที่ไหน.................................... ๒๒๓
  • - พระมาศึกษาในต่างแดนนี้ ถ้าก้าวให้ดี จะเป็นที่ตั้งต้นความหวังแก่สงฆ์ไทย ................... ๒๒๔
  • - พระเณรที่เรียนสายใหม่ ช่วยตรึงสถานการณ์ไว้............................................... ๒๒๕
  • พาราณสีถิ่นเริ่มตั้งหลัก แผ่ขยาย และสืบสายประเพณี................... ๒๒๖
  • เมตตาที่มีปัญญา จึงพาโลกสู่สันติสุขได้............................... ๒๓๑
  • เตอร์กจากไหน จึงมาอยู่ตุรกี......................................................... ๒๓๑
  • อิสลามรวมอาหรับ....................................................................... ๒๓๓
  • อิสลามแผ่ไพศาล......................................................................... ๒๓๖
  • ชีอะฮ์แยกออกมา......................................................................... ๒๓๘
  • สุหนี่นำอิสลามครองสเปน จ่อแดนจีน............................................ ๒๓๙
  • จากยุคมุสลิมอาหรับ เข้าสู่ยุคมุสลิมเตอร์ก
  • กาหลิฟเป็นใหญ่ แล้วกลายเป็นหุ่นเชิดของสุลต่าน..................... ๒๔๒
  • มุสลิมเตอร์ก มุสลิมมองโกล รุ่งแล้วเลือนลับ
  • คืนสู่มุสลิมอาหรับ ที่เป็นฐานเดิม.............................................. ๒๔๖
  • ๘ ถ้าสังเวชเป็น ก็จะได้เห็นธรรมกาย ............................................ ๒๕๑
  • ยิ่งเหน็ดเหนื่อยยากลำบาก
  • ก็ยิ่งมีเครื่องบูชาที่จะถวายเพิ่มมากๆ......................................... ๒๕๒
  • เส้นทางพุทธกิจ: พุทธคยา ถึง กุสินารา .......................................... ๒๕๕
  • โปรยธรรมบนเส้นทางสู่ที่ปรินิพพาน .............................................. ๒๖๐
  • ก) ทางเสด็จ: ราชคฤห์ ถึง กุสินารา........................................................... ๒๖๐
  • ข) ธรรมหลักใหญ่ ที่เป็น พหุลานุศาสนี....................................................... ๒๖๑
  • ค) พุทธบริษัท ๔ มีคุณสมบัติอย่างไร จึงจะรักษาพระพุทธศาสนาได้........................... ๒๖๒
  • ง) ถ้ามรรคมีองค์ ๘ ยังมีการปฏิบัติอยู่ ผู้เป็นอรหันต์ก็ยังมีได้................................ ๒๖๓
  • จ) พระพุทธเจ้าล่วงลับไป ชาวพุทธมีธรรมวินัย เป็นศาสดา..................................... ๒๖๔
  • ฉ) พระวาจาสุดท้าย ที่ฝากไว้ ชาวพุทธจะต้องใส่ใจ ถือเป็นยอดสำ คัญ......................... ๒๖๕
  • ช) อนิจจัง เพื่อให้ไม่ประมาท ต้องประกบอนิจจัง ที่ปลงให้สบายใจ .............................๒๖๖
  • ฌ) อนิจจัง ให้สังเวช จะได้แข็งขันไม่ประมาท .................................................. ๒๖๗
  • ปฏิบัติธรรมก้าวหน้าไป ธรรมกายเจริญเอง .................................... ๒๗๐
  • ๙ ที่ประกาศอิสรภาพของมนุษย์................................................ ๒๗๙
  • คติจากสังเวชนียสถาน............................................................ ๒๘๐
  • ทำประโยชน์ของตนให้ถูกให้ดี จะเป็นที่พึ่งของโลกได้...................... ๒๘๑
  • รูปกาย-ธรรมกาย ปรากฏและเป็นไป ที่สังเวชนียสถาน ๔................ ๒๘๖
  • มีโยนิโสมนสิการ เรื่องร้ายก็กลายเป็นดี......................................... ๒๙๐
  • พระพุทธเจ้าตรัสรู้เพราะโยนิโสมนสิการ......................................... ๒๙๑
  • คิดปรุงแต่ง กับ คิดวิปัสสนา ......................................................... ๒๙๗
  • พระพุทธเจ้าเสด็จมา ประกาศอิสรภาพให้แก่มนุษย์........................ ๒๙๙
  • อิสรภาพของมนุษย์จะได้มาด้วยการศึกษาที่ถึงธรรม...................... ๓๐๓
  • จะอาศัยสิ่งกล่อมอยู่สบายๆ
  • หรือจะใช้ความเพียรและปัญญาที่เป็นอิสระ............................... ๓๐๗
  • อย่าทิ้งความคิดปรุงแต่งเสียทันที
  • ถ้าปรุงแต่งดีได้ถึงฌานสมาบัติอย่างสูง .....................................๓๑๑
  • สมาธิมีประโยชน์มากมาย ต้องใช้ให้คุ้มและให้ครบ......................... ๓๑๗
  • หลายเรื่องที่ควรรู้ให้ชัด .......................................................... ๓๒๒
  • จะนอนคุดคู้อยู่ด้วยการอ้อนวอนปรารถนา
  • หรือจะเดินหน้าด้วยอธิษฐาน.................................................... ๓๒๒
  • ใช้เวลาสักนิด กับเรื่องภวังคจิต ..................................................... ๓๒๖
  • คนไทยอธิษฐานเพื่อจะได้ - พระให้อธิษฐานเพื่อจะทำ..................... ๓๒๙
  • ปัญญา ที่ชี้นำ ให้เข้ามาและเดินหน้าไปในทางสายกลาง................. ๓๓๓
  • ความได้ดุลพอดีที่เป็นลักษณะสำคัญของทางสายกลาง ................. ๓๔๐
  • สันโดษดี– สันโดษไม่ดี
  • ไม่สันโดษไม่ดี- ไม่สันโดษดี............................................................ ๓๔๓
  • ทางสายกลางแห่งความพอดี
  • มาลงที่ธรรมานุธรรมปฏิบัติเป็นอันหนึ่งเดียว............................. ๓๕๐
  • ๑๐ทางสายกลาง เพื่อชีวิตสังคมที่สุขสมบูรณ์....................................๓๕๓
  • สาวัตถีถิ่นปิยชนเปี่ยมศรัทธา....................................................... ๓๕๓
  • เรื่องร้อนที่ราชคฤห์มาระงับได้ที่สาวัตถี......................................... ๓๕๘
  • เคารพรัก-ร่มเย็น เป็นบรรยากาศของสาวัตถี................................... ๓๕๙
  • ความไม่ประมาท คือความสามารถที่จะไม่เสื่อม.................. ๓๖๒
  • การเมืองของชมพูทวีป: สืบสู่อินเดียหลังพุทธกาล ........................... ๓๖๒
  • จะเจริญอย่างเดียวไม่เสื่อมก็ได้ปัจจัยสำคัญที่สุดคือตัวมนุษย์
  • และในตัวมนุษย์ปัจจัยสำคัญที่สุด คือกรรม-ไม่ประมาท............. ๓๖๙
  • ความไม่ประมาท คือความสามารถที่จะไม่เสื่อม
  • ความไม่ประมาท คือความสามารถจัดการกับอนิจจัง..................๓๗๒
  • ความประมาท สำคัญอย่างไร
  • จึงทำให้ความไม่ประมาท กลายเป็นธรรมยิ่งใหญ่........................... ๓๗๖
  • เรียบง่าย แต่ระวัง อย่าให้กลายเป็นมักง่าย..................................... ๓๗๙
  • ระบบทุกข์ภัยประดิษฐ์ดีกว่าปล่อยให้มักง่าย
  • แต่ผลที่ได้ไม่ยั่งยืน................................................................... ๓๘๑
  • มองอินเดียกับฝรั่ง ให้เห็นความแตกต่างที่เป็นคติแก่ไทย .................๓๘๕
  • ถ้ามนุษย์พัฒนาจริง ก็ต้องพ้นวงจรแห่งความเจริญแล้วเสื่อม...........๓๘๗
  • ไม่ประมาท จึงสามารถธำ รงทางสายกลาง............................ ๓๙๑
  • ความไม่ประมาท มาช่วยปรับให้พอดี
  • จึงเป็นทางสายกลาง................................................................ ๓๙๑
  • ดุลยภาพในระบบความสัมพันธ์
  • ทำให้ชีวิตและสังคมอยู่พอดี..................................................... ๓๙๓
  • ธรรมที่ตรัสไว้ต่างชุด ดุจเครื่องมือที่ใช้กับต่างงาน ........................... ๓๙๖
  • ดุลยภาพพื้นฐานที่ประสานคน กับธรรมชาติและสังคม............................. ๓๙๗
  • ธรรมเป็นบรรทัดฐานแห่งความถูกต้องของวินัย
  • วินัยเป็นบรรทัดฐานแห่งพฤติกรรมที่ถูกต้องตามธรรม..................๔๐๑
  • วินัยกันไว้ไม่ให้เอาธรรมมาอ้างในทางที่ผิด.................................... ๔๐๕
  • ความไม่ยึดมั่นที่แท้ต้องดูจากคติพระอรหันต์................................. ๔๐๗
  • ยํ้า: วินัยเอาปัจจัยพิเศษของมนุษย์เข้าไปใส่กระบวนธรรม ................๔๑๑
  • ชาวพุทธ คือ ผู้ปล่อยวางได้แต่ไม่ปล่อยปละละเลย ........................ ๔๑๓
  • เศรษฐกิจจะพอดีเมื่อมันทำหน้าที่เป็นปัจจัย
  • เศรษฐกิจพาวิบัติเมื่อมันถูกจัดเป็นจุดหมาย ............................. ๔๑๕
  • รู้ทุกข์จึงดับทุกข์ได้
  • ไม่ใช่รู้ทุกข์ไป แล้วกลายเป็นทุกข์.............................................. ๔๑๗
  • เข้าถึงระบบสัมพันธ์ของธรรมแล้ว
  • ก็จัดแยกจับโยงได้ทั่วสรรพสิ่ง................................................... ๔๑๙
  • ๑๑รักษาธรรม คือรักษาความเป็นไท ............................................๔๒๓
  • แนะนำถํ้าอชันตา-เอลโลรา........................................................... ๔๒๔
  • ก) หมู่ถํ้าอชันตา ................................................................................ ๔๒๖
  • ข) หมู่ถํ้าเอลโลรา............................................................................... ๔๒๘
  • - ข้อสังเกต เทียบระหว่างอชันตา กับเอลโลรา................................................... ๔๒๙
  • ถ้าแยกเป็น ก็มองเห็นพุทธศาสนา........................................ ๔๓๐
  • ถํ้ากับชีวิตของพระสงฆ์ในพระพุทธศาสนา..................................... ๔๓๐
  • หลังพุทธกาลนานนักหนา คามวาสี-อรัญญวาสีจึงมีขึ้นมา............... ๔๓๔
  • มองวัดถํ้า เห็นความคลี่คลาย หรือความคลาดเคลื่อน
  • เถรวาท-มหายาน-ฮินดู-เชน ทยอยมา เป็นปริศนายังค้าง ............ ๔๓๘
  • วัดถํ้า พุทธก็มีฮินดูก็ทำ
  • เกิดจากเงื่อนงำ หรือสื่อความหมายอะไร................................... ๔๔๑
  • จากเทพสูงสุด สู่ธรรมสูงสุด
  • มนุษย์พ้นอำนาจพรหม สู่ความเป็นพุทธ.................................... ๔๔๕
  • ฮินดูฟื้น พุทธศาสนาฟุบ............................................................... ๔๔๖
  • เค้าอวสานแห่งพุทธศาสนา ยกมาดูกันแค่นี้ก็มองเห็น...................... ๔๔๘
  • วัดถํ้า: พุทธ เชน ฮินดูเปลือกดูคล้าย เนื้อในคนละอย่าง.............................................. ๔๕๓
  • ดูของข้างเคียงให้ทั่ว จะเห็นของตัวว่าเป็นอย่างไร ........................... ๔๕๗
  • ถ้าจะยังเป็นพุทธ ต้องรักษาหลักการไว้....................................๔๖๐
  • พระรัตนตรัย: สื่อเชื่อมต่อ และส่งเข้าสู่ทาง..................................... ๔๖๐
  • ต้นโพธิ์พระสถูป พระพุทธรูป ทยอยมา
  • อชันตา-เอลโลรา แถมมีโพธิสัตวรูปด้วย..................................... ๔๖๔
  • พระโพธิสัตว์: เสริมพลังเดินหน้า หรือพาเขวออกจากทาง................. ๔๖๖
  • บทเรียนที่มักถูกลืม ...................................................................... ๔๗๑
  •  นารายณ์อวตาร......................................................................... ๔๗๑
  •  ศิวะอวตาร................................................................................ ๔๗๕
  •  ปุษยมิตร-มิหิรกุละ-ศาศางกะ โค่นในระหว่าง.................................. ๔๗๖
  • ทัพมุสลิมเตอร์ก ล้างปิดรายการ ................................................. ๔๗๘
  • ๑๗๐๐ ปีหลักการแค่นี้รักษาไม่ได้................................................ ๔๗๙
  • คู่ต่าง คือคู่เติม เสริมความรู้ธรรมให้เต็ม......................................... ๔๘๔
  • ภาคผนวก
  • ผนวก ๑: อินโดจีน-ย้อนอดีต เคียงคู่-อินโดนีเซีย……………………………………………..๔๙๑
  • ผนวก ๒: ความเป็นมาเดิม - การพิมพ์ ครั้งที่ ๑
  • คณะบุญจาริก …………………………………………………………………………….. ๕๒๐
  • คำ ปรารภ ………………………………………………………………………………… ๕๒๑
  • อนุโมทนา ………………………………………………………………………………..๕๒๒
  • หนังสือที่เป็นแหล่งข้อมูลเฉพาะบางอย่าง……….…………………………………………๕๒๔
  • อักษรย่อชื่อคัมภีร์…………………………………………………………………………………๕๒๕





Download เอกสาร เพื่อศึกษาหาความรู้ คลิก!!!

ที่มา พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ. ปยุตะโต)


  • ***ถ้าเห็นว่ามีประโยชน์ รบกวน คอมเม้น ให้หน่อยนะครับ***




  • ไม่มีความคิดเห็น:

    แสดงความคิดเห็น