นิติศาสตร์แนวพุทธ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต)- สารบัญ
- นิติศาสตร์แนวพุทธ.....................................................................๑
- บทนำ นิติศาสตร์ กับ ธรรมศาสตร์..........................................................๒
- ๑. หลักการพื้นฐาน .............................................................................๑๑
- กฎหมาย ต้องมาจากธรรม ต้องชอบธรรม และต้องเพื่อธรรม....................๑๑
- กฎมนุษย์ต้องไม่แปลกแยกจากกฎธรรมชาติ............................................๑๗
- พัฒนาคนให้รู้จักเคารพสิทธิกันและกัน
- แต่ต้องรู้ทันว่าที่แท้มนุษย์ไม่มีสิทธิ.......................................................๒๒
- ถึงจะพัฒนาระบบขึ้นมาหลากหลาย
- ทุกระบบต้องลงกันได้บนฐานหนึ่งเดียวแห่งธรรม .................................๒๗
- กฎหมายเพื่อสังคมมนุษย์ จะไม่สมจริง
- ถ้าหยั่งไม่ถึงความจริง แห่งธรรมชาติมนุษย์...........................................๓๔
- จุดหมายของสังคม คือจุดหมายของกฎหมาย
- แต่สุดท้าย จุดหมายของกฎหมายต้องสนองจุดหมายของชีวิตคน.........๓๗
- วินัย/กฎหมาย เป็นเครื่องจัดสรรให้เกิดโอกาส
- ทจี่ ะเปน็ ฐานของการพัฒนาสูก่ ารสรา้ งสรรคท์ สีู่งขนึ้ ไป......................... ๓๙
- วินัย/กฎหมายช่วยจัดสรรสังคมดี ที่เอื้อให้คนงอกงามมีชีวิตที่ดี
- คนยิ่งงอกงามมีชีวิตที่ดี ก็ยิ่งหนุนสังคมดีที่คนจะมีชีวิตงอกงาม..........๔๓
- การปกครองที่แท้ และกฎหมายที่ถูก
- ต้องมีจุดหมายสอดคล้องกับธรรมชาติของมนุษย์................................. ๔๘
- มีกฎหมายไว้จัดการปกครอง
- เพื่อทำ ให้เกิดสังคมดี ที่คนมีโอกาสพัฒนาชีวิตที่ดีงาม......................... ๕๒
- กระบวนวิธีในการบัญญัติข้อกฎหมาย
- กฎหมายโดยหลักการ กับกฎหมายโดยบัญญัติ.....................................๕๖
- กฎหมายที่แท้ประสานประโยชน์ของบุคคลกับสังคม
- และประสานสมมติของมนุษย์ เข้ากับความจริงแท้ของธรรมชาติ............๖๓
- ๒. หลักแห่งปฏิบัติการ .......................................................................๗๒
- ถ้าคนอยู่ในหลักการ ก็ไม่ต้องมีกฎหมาย
- ถ้ากฎหมายไม่ใช่เพื่อหลักการ ก็ไม่ควรให้เป็นกฎหมาย ........................๗๒
- เมื่อคนเป็นวิญญูรู้สาระของกฎหมาย สังคมสงบสุขด้วยกติกาง่ายๆ
- ครั้นคนเสื่อมลงไป กฎหมายยิ่งบังคับซับซ้อน สังคมยิ่งเสื่อมทรุด.....๗๙
- จะรักษาธรรมให้แก่สังคมได้ ต้องรักษาดุลยภาพให้แก่ใจของตน...............๘๒
- พฤติกรรมจะถึงภาวะแห่งดุลยภาพ
- เมื่อจิตใจและปัญญามาประสานอย่างสมดุล...........................................๙๐
- ความเคร่งครัดในวินัย ประสานกับจิตใจที่ไม่ยึดมั่น
- คำ นึงแต่จะรักษาธรรมเพื่อประโยชน์สุขของปวงชน............................... ๙๘
- ความยึดมั่นกฎหมาย หลงติดในสมมติ จะกลายเป็นภัย แต่ถ้าเข้า
- ถึงธรรมที่เป็นฐานของกฎหมาย ก็จะกลายเป็นนักนิติศาสตร์ที่แท้....... ๑๐๕
- อารยธรรมของมนุษย์จะยั่งยืนเพียงใด
- อยู่ที่ภูมิธรรมภูมิปัญญาในการจัดการกับสมมติ..................................๑๑๕
- บทส่งท้าย มองอดีตถึงปัจจุบัน เพื่อสร้างสรรค์อนาคต......................๑๒๑
- ดุลยภาพโดยรวมของสังคมสัมฤทธิ์ได้
- ด้วยการจัดการทางสังคม สู่เป้าหมายแห่งการพัฒนาคน ............ ๑๒๑
- ฝ่ายนิติบัญญัติของไทยจะทำ อย่างไร
- ถ้าจะคิดเกื้อกูลให้พุทธศาสนาอยู่ดีเพื่อประโยชน์แก่สังคมไทย .......๑๒๑
- เป็น rule of law นั้นหรือจะพอ อย่าเพิ่งภูมิใจ
- ถ้าพัฒนาสาระแท้ขึ้นมาไม่ได้ อารยธรรมก็จะสลายด้วยกินตัวมันเอง.............๑๒๖
- บรรณานุกรม.................................................................................................๑๓๓
Download เอกสาร เพื่อศึกษาหาความรู้ คลิก!!!
ที่มา พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต)
ขออนุญาตดาว์นโหลดและขอขอบคุณสำหรับการแบ่งปันความรู้ครับ
ตอบลบ