ค้นหารายการหนังสือบล็อกนี้

วันอังคาร, พฤษภาคม 12

ทุกข์ สำหรับเห็น

ทุกข์สําหรับเห็น



ทุกข์ สำหรับเห็น แต่ สุข สำหรับเป็น แก่นแท้ของพระพุทธศาสนา


  • สารบัญ
  • อนุโมทนา.........................................................................................(๑)
  • ทุกข์สำหรับเห็น แต่สุขสำหรับเป็น(แก่นแท้ของพระพุทธศาสนา)..........................๑
  • เกริ่นนำ.............................................................................................. ๑
  • แก่นแท้ของพระพุทธศาสนา................................................................๒
  • ๑ หัวใจพุทธศาสนา .............................................................. ๓
  • หัวใจพุทธศาสนาคืออะไร ว่ากันไปหลายอย่างถูกทั้งนั้น อันไหนก็ได้....................................................................๓
  • แต่ต้องระวัง อันไหนก็ได้จะทำให้พุทธศาสนาง่อนแง่น
  • ชาวพุทธต้องมีหลักที่แน่ชัด ให้ปฏิบัติเด็ดแน่วเป็นหนึ่งเดียว ...........๕
  • ว่ากันไป กี่หลักกี่หัวใจในที่สุดก็หลักใหญ่เดียวกัน............................................๘
  • ถึงจะเล่าเรียนจบหลัก ถ้าไม่รู้จักหน้าที่ต่ออริยสัจก็ปฏิบัติไม่ถูก และไม่มีทางบรรลุธรรม........................................ ๑๒
  • อริยสัจ คือ ธรรมที่นำเสนอเป็นระบบปฏิบัติการให้มนุษย์บริหารประโยชน์จากความจริงของธรรมชาติ...................๑๕
  • อย่าเขลาตามคนขาดความรู้ว่าพุทธศาสนามองโลกแง่ร้ายหลักพุทธสอนว่า ทุกข์เราต้องมองเห็น แต่สุขสำหรับจะมีจะเป็น ... ๑๘
  • ๒ แก่นแท้ของพระพุทธศาสนา ..........................................๒๒
  • ความจริงมีอยู่ตามธรรมดาพระพุทธเจ้ามีปัญญา ก็มาค้นพบและเปิดเผย .............................๒๓
  • เมื่อคนไม่รู้ทันความจริงของธรรมเขาก็นำทุกข์ในธรรมชาติมาสร้างให้เป็นทุกข์ของตน......................๒๖
  • เมื่อมีปัญญารู้ความจริง ก็เลิกพึ่งพิงตัณหาหันมาอยู่ด้วยปัญญา ที่เอาประโยชน์ได้จากธรรม......................... ๒๙
  • ธรรมชาติของมนุษย์นั้นพิเศษในแง่ดีคือมนุษย์เป็นสัตว์ที่ศึกษาให้มีปัญญาได้...........................................๓๐
  • บนฐานแห่งธรรมชาติมนุษย์ผู้เป็นสัตว์ต้องศึกษาพระพุทธเจ้าทรงตั้งหลักพระรัตนตรัยขึ้นมา................................. ๓๓
  • ความจริงแห่งธรรมดาของโลกและชีวิตที่ต้องรู้ให้ทันและวางท่าทีให้ถูก.......................................๓๗
  • จะพัฒนาศักยภาพของคนให้มีชีวิตแห่งปัญญาก็ต้องรู้จักธรรมชาติของชีวิตซึ่งจะทำหน้าที่ศึกษา..........................๓๙
  • ๓ แก่นธรรมเพื่อชีวิต.......................................................... ๔๓
  • การดำเนินชีวิตทั้งสามด้านเป็นปัจจัยเกื้อหนุนกันในการศึกษา ..............................................๔๓
  • บนฐานแห่งหลักความสัมพันธ์ของชีวิตสามด้านทรงตั้งหลักไตรสิกขาให้มนุษย์พัฒนาอย่างบูรณาการ....................๔๕
  • เมื่อพัฒนาด้วยไตรสิกขา ชีวิตก็เป็นอริยมรรคาเพราะชีวิตที่ดีคือชีวิตที่ศึกษา......................................................๔๘
  • จุดเริ่มของการศึกษา มีช่องทางที่ชีวิตเตรียมไว้ให้แต่ต้องใช้เป็น จึงจะเกิดการพัฒนา ..............................................๕๐
  • เมื่อคนเริ่มศึกษา การพัฒนาก็เริ่มทันทีความต้องการอย่างใหม่ก็มีความสุขอย่างใหม่ก็มา.............. ๕๓
  • การพัฒนามนุษย์มีแหล่งใหญ่อยู่ในมโนกรรมจุดสำคัญนี้ถ้าพลาดไป ก็คือช่องทางใหญ่ให้หายนะเข้ามา.....๕๖
  • การพัฒนาคน พัฒนาสังคม ไม่มีทางได้ผลจริงถ้าทอดทิ้งฐานของการพัฒนา คือมโนกรรม.........๕๙
  • ตราบใดยังไม่ถึงจุดหมาย ยังมีชีวิตอยู่ก็ต้องศึกษาความหมายของธรรมที่ปฏิบัติจึงวัดด้วยไตรสิกขา........................๖๑
  • สมาธิเตรียมจิตพร้อมให้ปัญญาทำงานเดินหน้า ฉันใดสันโดษก็เตรียมตัวพร้อมให้มุ่งเพียร ไม่พะวักพะวน ฉันนั้น ..........๖๔
  • ถ้าคนไทยตั้งอยู่ในหลักสี่จะไม่ตกหลุมวิกฤติถึงแม้ถลำไป ก็จะถอนตัวขึ้นสู่วิวัฒน์ได้โดยพลัน..........................๖๖
  • แก่นแท้ของพุทธธรรม คือความหลุดพ้นพึ่งตนได้ในสังคมของกัลยาณมิตร ผู้มีชีวิตที่เกื้อกูลกัน............................. ๗๑




Download เอกสาร เพื่อศึกษาหาความรู้ คลิก!!!

ที่มา พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต)


  • ***ถ้าเห็นว่ามีประโยชน์ รบกวน คอมเม้น ให้หน่อยนะครับ***




  • ไม่มีความคิดเห็น:

    แสดงความคิดเห็น