ค้นหารายการหนังสือบล็อกนี้

วันพุธ, มิถุนายน 17

สลายความขัดแย้ง

สลายความขัดแย้ง



  • สารบัญ
  • สลายความขัดแย้ง .........................................................๑
  • ๑. ขัดแย้งเป็น ให้ได้ประโยชน์.................................................................. ๓
  • ความวิเศษของมนุษย์อยู่ที่ไม่ต้องเป็นทาสของความขัดแย้ง...........................๓
  • ทำการขัดแย้งให้เกิดผลเป็นประโยชน์...........................................................๕
  • จะเป็นประชาธิปไตย ต้องพูดกันได้และต้องใฝ่รู้ความจริง............................. ๖
  • ไทยดีด้านวัฒนธรรมเมตตา แต่ด้อยด้านวัฒนธรรมแสวงปัญญา
  • อเมริกันด้อยด้านวัฒนธรรมเมตตา แต่ดีด้านวัฒนธรรมแสวงปัญญา........๘
  • ไทยมัวตามฝรั่ง ระวังจะเสียสอง.................................................................๑๐
  • ๒. จะเอาแค่ประนีประนอม หรือไปให้ถึงความสอดคล้องสามัคคี............. ๑๒
  • ระบบแข่งขันย่อมมาด้วยกันกับความขัดแย้ง
  • และการแก้ปัญหาย่อมยุติแค่ประนีประนอม ......................................... ๑๒
  • ในระบบประนีประนอม จริยธรรมเป็นปฏิบัติการด้วยความฝืนใจ .................๑๔
  • จริยธรรมที่แท้คือ ปฏิบัติการแห่งการพัฒนาความสุข..................................๑๖
  • ต้องมองระบบพิทักษ์สิทธิของฝรั่งอย่างรู้เท่าทัน.......................................... ๑๘
  • ถ้าจะรู้จักฝรั่งจริง ต้องมองให้ถึงรากฐานในภูมิหลังของเขา.......................... ๒๑
  • ไทยว่า อยู่นี่ดี "ในน้ำมีปลา ในนามีข้าว"
  • อเมริกันว่า อยู่ไม่ได้ "ต้องไปข้างหน้า บุกฝ่าขยายพรมแดน" ................๒๔
  • มีจุดหมายใหญ่ที่ทุกคนได้ร่วมกัน
  • จึงจะข้ามพ้นจุดหมายย่อยของแต่ละฝ่ายที่ขัดกัน..................................๒๗
  • ๓. ปฏิบัติการแก้ปัญหา ในระบบองค์รวม .................................................๓๐
  • ปฏิบัติการของมนุษย์จะได้ผลจริง ต้องตั้งอยู่บนฐานของความจริง
  • และเต็มตามระบบของกระบวนการในธรรมชาติ.................................... ๓๐
  • แม้แต่นักปลุกระดม ก็ต้องใช้วิธีอริยสัจ
  • รัฐบาลจะพัฒนาประเทศ ก็ไปได้สวยด้วยอริยสัจ..................................๓๓
  • พวกมนุษย์สมัยใหม่พอมาเจอเรื่องศาสนา
  • ก็พากันหลบปัญหา ไม่สู้หน้าความจริง.................................................. ๓๕
  • อารยธรรมที่เจริญมา ฟ้องตัวเองว่า
  • เป็นอารยธรรมที่ก่อไม่ใช่แก้ปัญหา.......................................................๓๗
  • จริงใจและเปิดใจที่เมตตา แต่ต้องดำเนินการไปด้วยปัญญา......................... ๓๙
  • ไม่ว่าจะใช้หลักไหนๆ ก็ต้องมองให้เห็นทั้งระบบ..........................................๔๒
  • รู้จักอเมริกาไม่ใช่แค่รู้จักผลิตผลจากอุตสาหกรรม
  • แต่ต้องเข้าให้ถึงจิตใจและปัญญาของเขา ...............................................๔๔
  • เวรระงับด้วยการไม่จองเวร นั้นจริงแท้
  • แต่ต้องศึกษาว่า ทำอย่างไรจึงจะไม่ต้องจองเวร......................................๔๖
  • ล้วงความสามารถพิเศษของคนไทย
  • ออกมาแก้ไขความขัดแย้งในโลก.......................................................... ๔๙
  • นิติศาสตร์แนวพุทธ .....................................................๕๓
  • บทนำนิติศาสตร์กับ ธรรมศาสตร์..........................................................๕๖
  • ๑. หลักการพื้นฐาน..................................................................................๖๕
  • กฎหมาย ต้องมาจากธรรม ต้องชอบธรรม และต้องเพื่อธรรม ......................๖๕
  • กฎมนุษย์ต้องไม่แปลกแยกจากกฎธรรมชาติ..............................................๗๑
  • พัฒนาคนให้รู้จักเคารพสิทธิกันและกัน
  • แต่ต้องรู้ทันว่าที่แท้มนุษย์ไม่มีสิทธิ....................................................... ๗๖
  • ถึงจะพัฒนาระบบขึ้นมาหลากหลาย
  • ทุกระบบต้องลงกันได้บนฐานหนึ่งเดียวแห่งธรรม.................................. ๘๑
  • กฎหมายเพื่อสังคมมนุษย์จะไม่สมจริง
  • ถ้าหยั่งไม่ถึงความจริง แห่งธรรมชาติมนุษย์..........................................๘๘
  • จุดหมายของสังคม คือจุดหมายของกฎหมาย
  • แต่สุดท้าย จุดหมายของกฎหมายต้องสนองจุดหมายของชีวิตคน ...........๙๑
  • วินัย/กฎหมาย เป็นเครื่องจัดสรรให้เกิดโอกาส
  • ที่จะเป็นฐานของการพัฒนาสู่การสร้างสรรค์ที่สูงขึ้นไป........................... ๙๓
  • วินัย/กฎหมายช่วยจัดสรรสังคมดีที่เอื้อให้คนงอกงามมีชีวิตที่ดี
  • คนยิ่งงอกงามมีชีวิตที่ดีก็ยิ่งหนุนสังคมดีที่คนจะมีชีวิตงอกงาม.............๙๗
  • การปกครองที่แท้และกฎหมายที่ถูก
  • ต้องมีจุดหมายสอดคล้องกับธรรมชาติของมนุษย์...............................๑๐๓
  • มีกฎหมายไว้จัดการปกครอง
  • เพื่อทำให้เกิดสังคมดีที่คนมีโอกาสพัฒนาชีวิตที่ดีงาม.........................๑๐๗
  • กระบวนวิธีในการบัญญัติข้อกฎหมาย
  • กฎหมายโดยหลักการ กับกฎหมายโดยบัญญัติ.................................. ๑๑๐
  • กฎหมายที่แท้ประสานประโยชน์ของบุคคลกับสังคม
  • และประสานสมมติของมนุษย์เข้ากับความจริงแท้ของธรรมชาติ..........๑๑๗
  • ๒. หลักแห่งปฏิบัติการ ......................................................................... ๑๒๗
  • ถ้าคนอยู่ในหลักการ ก็ไม่ต้องมีกฎหมาย
  • ถ้ากฎหมายไม่ใช่เพื่อหลักการ ก็ไม่ควรให้เป็นกฎหมาย...................... ๑๒๗
  • เมื่อคนเป็นวิญญูรู้สาระของกฎหมาย สังคมสงบสุขด้วยกติกาง่ายๆ
  • ครั้นคนเสื่อมลงไป กฎหมายยิ่งบังคับซับซ้อน สังคมยิ่งเสื่อมทรุด........๑๓๔
  • จะรักษาธรรมให้แก่สังคมได้ต้องรักษาดุลยภาพให้แก่ใจของตน .............. ๑๓๗
  • พฤติกรรมจะถึงภาวะแห่งดุลยภาพ
  • เมื่อจิตใจและปัญญามาประสานอย่างสมดุล .......................................๑๔๕
  • ความเคร่งครัดในวินัย ประสานกับจิตใจที่ไม่ยึดมั่น
  • คำนึงแต่จะรักษาธรรมเพื่อประโยชน์สุขของปวงชน .............................๑๕๓
  • ความยึดมั่นกฎหมาย หลงติดในสมมติจะกลายเป็นภัย แต่ถ้าเข้า
  • ถึงธรรมที่เป็นฐานของกฎหมาย ก็จะกลายเป็นนักนิติศาสตร์ที่แท้........ ๑๖๐
  • อารยธรรมของมนุษย์จะยั่งยืนเพียงใด
  • อยู่ที่ภูมิธรรมภูมิปัญญาในการจัดการกับสมมติ..................................๑๗๐
  • บทส่งท้าย มองอดีตถึงปัจจุบัน เพื่อสร้างสรรค์อนาคต...........................๑๗๖
  • ดุลยภาพโดยรวมของสังคมสัมฤทธิ์ได้
  • ด้วยการจัดการทางสังคมสู่เป้าหมายแห่งการพัฒนาคน........................๑๗๖
  • ฝ่ายนิติบัญญัติของไทยจะทำอย่างไร
  • ถ้าจะคิดเกื้อกูลให้พุทธศาสนาอยู่ดีเพื่อประโยชน์แก่สังคมไทย.............๑๗๖
  • เป็น rule of law นั้นหรือจะพอ อย่าเพิ่งภูมิใจถ้าพัฒนาสาระแท้
  • ขึ้นมาไม่ได้อารยธรรมก็จะสลายด้วยกินตัวมันเอง............. ................๑๘๑
  • บรรณานุกรม..........................................................................................๑๘๘
  • รัฐศาสตร์แนวพุทธ: ตอน จริยธรรมนักการเมือง .....๑๘๙
  • ปัญญาที่รู้เข้าใจจุดหมายของงานการเมือง ................................................๑๙๒
  • จิตใจที่มุ่งมั่นต่อจุดหมายและใฝ่ดีต่อสังคม..............................................๑๙๔
  • ธรรมาธิปไตย เป็นแกนจริยธรรมของประชาธิปไตย..................................๑๙๗
  • หลักการ ต้องสนองความมุ่งหมาย ...........................................................๑๙๙
  • รักษาธรรม คู่กับอารักขาประชาชน...........................................................๒๐๑
  • ปัจจัยดีคือเศรษฐกิจที่ทั่วถึง และเพียงพอ.............................................. ๒๐๒
  • แสวงปัญญาที่ทำให้ต้องการสิ่งที่ดีงามถูกต้อง และเป็นจริง........................๒๐๔
  • ศักยภาพของนักการเมืองและประชาชน
  • ตัดสินคุณภาพของประชาธิปไตย ...................................................... ๒๐๗
  • จริยธรรมมาตรฐานของนักการเมือง
  • ต้องไม่ขาดจริยธรรมพื้นฐานของชาวบ้าน............................................๒๐๘
  • เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ ............................................ ๒๑๑
  • ข้อคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์แนวพุทธ.......................................๒๑๓
  • ข้อจำกัดของเศรษฐศาสตร์แห่งยุคอุตสาหกรรม......................................๒๑๘
  • ๑. การแยกตัวโดดเดี่ยวเป็นความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน............................๒๑๘
  • ๒. ไม่เป็นอิสระจากจริยธรรม แต่ไม่ใส่ใจจริยธรรม ................................ ๒๒๑
  • ๓. อยากเป็นวิทยาศาสตร์ทั้งที่ไม่อาจและไม่น่าจะเป็น.............................๒๒๖
  • ๔. ขาดความชัดเจนเกี่ยวกับความเข้าใจในธรรมชาติของมนุษย์............... ๒๓๔
  • ก. ความต้องการ ............................................................................ ๒๓๕
  • ข. การบริโภค..................................................................................๒๔๑
  • ค. งาน และการทำงาน.................................................................... ๒๔๒
  • ง. การแข่งขัน-การร่วมมือ................................................................๒๔๕
  • จ. สันโดษ-ค่านิยมบริโภค...............................................................๒๔๗
  • ฉ. การผลิต.....................................................................................๒๕๐
  • ลักษณะสำคัญของเศรษฐศาสตร์แนวพุทธ .............................................๒๕๓
  • ๑. เศรษฐศาสตร์มัชฌิมา: การได้คุณภาพชีวิต........................................ ๒๕๓
  • ๒. เศรษฐศาสตร์มัชฌิมา: ไม่เบียดเบียนตน ไม่เบียดเบียนผู้อื่น...............๒๕๙
  • สรุป.......................................................................................................๒๖๓
  • บทพิเศษ หลักการทั่วไปบางประการ ของ เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ
  • (เศรษฐศาสตร์มัชฌิมา) ................................................................... ๒๖๖
  • ๑. การบริโภคด้วยปัญญา ......................................................................๒๖๖
  • ๒. ไม่เบียดเบียนตน-ไม่เบียดเบียนผู้อื่น ................................................ ๒๗๐
  • ๓. เศรษฐกิจเป็นปัจจัย .........................................................................๒๗๓
  • ๔. สอดคล้องกับธรรมชาติของมนุษย์....................................................๒๗๘
  • ๕. บูรณาการในระบบสัมพันธ์ของธรรมชาติ...........................................๒๘๗



มนุษย์จะต้องรู้เข้าใจธรรมชาติส่วนที่เป็นคุณสมบัติพิเศษเหล่านี้
ของมนุษย์ และมองทะลุปัจจยาการของมันในระบบสัมพันธ์ของ
ธรรมชาติทั้งหมด แล้วศาสตร์ทั้งหลายก็จะบรรจบประสานกันได้พร้อม
กับที่การแก้ประดาปัญหาของมนุษย์จึงจะสำ เร็จแท้จริง และการ
สร้างสรรค์ต่างๆ รวมทั้งอารยธรรมของมนุษย์จึงจะบรรลุจุดหมาย



Download เอกสาร เพื่อศึกษาหาความรู้ คลิก!!!

ที่มา พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต)


  • ***ถ้าเห็นว่ามีประโยชน์ รบกวน คอมเม้น ให้หน่อยนะครับ***




  • ไม่มีความคิดเห็น:

    แสดงความคิดเห็น