คู่มือ Cyber Security สำหรับประชาชน
บทที่ 01
- เทคโนโลยีกับปัญหาความปลอดภัย
- เทคโนโลยีในอนาคต
- อุปกรณ์ออนไลน์กับความปลอดภัย
- เมื่อเรื่องส่วนตัวไม่เป็นความลับ
- ท่องเว็บก็โดนเก็บข้อมูลไม่รู้ตัว
- การเก็บข้อมูลบน Cloud ปลอดภัยหรือเชื่อถือได้แค่ไหน
บทที่ 02
- การใช้อินเทอร์เน็ตผ่านสมาร์ทโฟนหรือแท็บเล็ตให้ปลอดภัย
- ใช้อินเทอร์เน็ตผ่าน “เน็ตซิม” ต่างกับ Wi-Fi อย่างไร
- ความเร็วเน็ตซิมกับข้อมูลแบบต่างๆ
- ใช้เน็ตซิมอย่างไรไม่ให้หมดโควต้า
- ต่อเน็ตแบบไหน เมื่อไหร่ดี
- เปิด-ปิดเน็ตบนอุปกรณ์ได้อย่างไร
- ใช้เน็ตตลอดเวลาแม้ไม่ได้ใช้งานเครื่อง
- เช็คได้ว่าใช้เน็ตไปมากแค่ไหนแล้ว
- ปิดสัญญาณวิทยุเวลาขึ้นเครื่องบิน
- จำกัดปริมาณการใช้อินเทอร์เน็ตในเน็ตซิม
- นำมือถือไปใช้ในต่างประเทศได้อย่างไร
- ระวังการเลือกผู้ให้บริการในต่างประเทศ
- ปิดเน็ตก่อนไปต่างประเทศแบบใช้ได้ทุกเครื่อง
บทที่ 03
- ระวังอันตรายเรื่องข้อมูลส่วนตัว
- ข้อมูลส่วนตัวควรเป็นความลับ
- ซ่อนข้อมูลในเครื่อง
- ระวังข้อมูลอัพขึ้น Cloud ไม่รู้ตัว
- ความลับไม่มีในโลก(อินเทอร์เน็ต)
- เปิดเผยเรื่องส่วนตัวแค่ไหนให้พอดี
- ยกเลิกการใช้งานแอคเคาท์ต่างๆ ที่ไม่ใช้
- ตั้งค่าความปลอดภัยและความเป็นส่วนตัวใน Social Network
- ตั้งค่าคุกกี้ และความเป็นส่วนตัว ในบราวเซอร์
- ไม่ให้จำรหัสผ่านในเครื่องสาธารณะ
- ท่องเว็บแบบไร้ประวัติ
- ตั้งค่าการแจ้งเตือนและความเป็นส่วนตัวใน LINE
- ยกเลิกการเพิ่มรายชื่ออัตโนมัติ
- ป้องกันไม่ให้คนอื่นเพิ่มชื่อเราอัตโนมัติ
- บล็อคหรือซ่อนรายชื่อ
- บล็อคหรือซ่อนรายชื่อทีละคน
- ยกเลิกการบล็อคหรือซ่อนรายชื่อ
- บล็อคข้อความจากบุคคลอื่น
- ปิดเสียงเตือนเฉพาะบางคน
- ปิดเสียงหรือการแจ้งเตือนทั้งหมด
- ปิดการแจ้งเตือนจากเกม
- ผูกแอคเคาท์กับอีเมล์หรือเบอร์โทรไว้
- กู้คืนรหัสผ่านและแอคเคาท์
- แอคเคาท์ถูกแฮกหรือขโมยไป ทำไงดี
- กู้แอคเคาท์ LINE
- กู้แอคเคาท์ Hotmail
- กู้แอคเคาท์ Gmail
- เรียกดูเว็บอย่างปลอดภัยด้วย https
- ดูอย่างไรว่าเว็บไหนมีการเข้ารหัสแบบ https
- รู้จัก “บั๊ก” อันตรายที่เรียกว่า Heartbleed
- อย่าใช้รหัสผ่านเดียวกันกับทุกบริการ
- รหัสผ่านตั้งมากมายจะจดจำยังไงไหว
- ตั้งรหัสผ่านอย่างไรให้ปลอดภัย
- ล็อกอินแบบไม่ต้องสร้างแอคเคาท์ใหม่
- ผูกแอพหรือบริการกับ Facebook
- ผูกแอพหรือบริการกับอีเมล์
- ระบบล็อคสองขั้นตอน (2-Step Verification)
- ตั้งรหัสผ่านเฉพาะแอพ
- ล็อคเครื่องไว้ปลอดภัยกว่า
- ตั้งค่าสแกนลายนิ้วมือปลดล๊อคหน้าจอ
- ส่งเสียงเรียกหาอุปกรณ์ที่หายไป
- ตั้งรหัสผ่านล็อคอุปกรณ์แบบออนไลน์
- เครื่องหายจะลบข้อมูลในเครื่องอย่างไร
- แสดงความเป็นเจ้าของแม้เครื่องหาย
- ติดล็อค Find My iPhone ทำไงดี
- แบ็คอัพ-รีสโตร์ข้อมูลบนอุปกรณ์
- ชำระเงินออนไลน์ได้ทางไหนบ้าง
- จ่ายเงินออนไลน์ต้องระวังอะไรบ้าง
- ระวัง-อย่าให้เด็กรู้รหัสผ่านของคุณ
- ป้องกันไม่ให้เด็กซื้อไอเท็มในเกม
บทที่ 04
- ระวังอันตรายเรื่องข้อมูลตำแหน่งที่อยู่
- เปิด-ปิดการทำงานของ GPS
- เปิดระบบค้นหาเครื่อง
- ตามหามือถือหรือแท็บเล็ตที่หายไป
- การแชร์ตำแหน่งที่อยู่ออนไลน์จะมีอันตรายมั้ย
- ระวัง! การเก็บข้อมูลตำแหน่งที่อยู่ของแอพต่างๆ
- แจ้งตำแหน่งปัจจุบันขอความช่วยเหลือ
บทที่ 05
- ระวังอันตรายจากการหลอกลวงรูปแบบต่างๆ
- การหลอกลวงโดยอาศัยช่องโหว่ด้านพฤติกรรม
- ระวังหน้าเว็บหลอกลวง (Phishing)
- ป้องกันตัวจาก Phishing
- การหลอกลวงแบบ Pharming
- หลอกให้ดาวน์โหลดโปรแกรม-แอพ
- จริงหรือหลอก- ตอบแบบสอบถามแล้วได้เงิน
- ยืนยันความเป็นตัวจริงใน Social Media
- การบอกต่อเรื่องไม่จริง
- ซื้อสินค้าหรือทำธุรกรรมออนไลน์ให้ปลอดภัย
บทที่ 06
- ระวัง - แอพพลิเคชั่น อันตราย
- ไวรัสและอันตรายต่างๆ
- ปรับแต่งเครื่องด้วยการเจลเบรคหรือ ROOT คืออะไร
- ติดตั้งแอพเองใน Android
- ป้องกันตัวจากไวรัส
- แอพขยะและแอพหลอกลวง
- ป้องกันตัวจากแอพขยะหรือแอพปลอม
- มือถือหรือแท็บเล็ตจะติดไวรัสจากคอมพิวเตอร์ได้หรือไม่
- มีภัยร้ายเกิดใหม่ทุกวัน
บทที่ 07
- Chat, Comment, Like และ Share อย่างไรให้ปลอดภัย
- ออนไลน์อย่างไรไม่ให้ผิด พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์
- ปัญหาการละเมิดลิขสิทธิ์และทรัพย์สินทางปัญญาอื่นๆ บนอินเทอร์เน็ต
- นำภาพหรือข้อความของผู้อื่นไปใช้อย่าลืมให้เครดิต
- ข้อควรระวังในการใช้ LINE หรือแอพแชทอื่นๆ
- แชทและแชร์อย่างไรดี
- ระวัง-แอพที่ติดตั้งใน Social media
บทที่ 08
- ระวังอันตรายอื่นๆจากการออนไลน์หรือใช้อุ ปกรณ์ไม่เหมาะสม
- ใช้ Wi-Fi สาธารณะฟรีต้องระวัง
- ป้องกันตัวไม่ให้โดนแฮก
- เช็ค Wi-Fi ที่ปลอดภัยก่อนเข้าใช้
- แนะนำให้อัพเดท OS เป็นรุ่นล่าสุด
- อัพเดท OS ให้เป็นเวอร์ชั่นล่าสุด
- ระวัง-แอพแอบบันทึกการพิมพ์
- วิธีป้องกันตัวเองจาก Key logger
- สรุปข้อควรระวังในการใช้อินเทอร์เน็ต
- ข้อควรระวังในการใช้งานอุปกรณ์มือถือแท็บเล็ต และอื่นๆ
บทที่ 09
- ระวังผลกระทบทางสังคมและวัฒนธรรม
- มารยาทในการใช้เน็ตซิม
- ใช้มือถือหรือแท็บเล็ตให้ถูกกาละเทศะ
- ปัญหาเกี่ยวกับเกมออนไลน์
- ตั้งให้ดูได้เฉพาะเนื้อหาที่เรทเหมาะสมกับอายุ
- ผู้ปกครองกับการดูแลผู้เยาว์ในเรื่องการใช้อินเทอร์เน็ต
- ปัญหาจากการใช้อุปกรณ์สื่อสารในสังคม
- โรคไซเบอร์กับวัฒนธรรมไทย
- อธิบายคำศัพท์
Download เอกสาร เพื่อศึกษาหาความรู้ คลิก!!!
ที่มา
คู่มือ cyber Security สำหรับประชาชน ของ สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
www.nbtc.go.th
ไฟล์หายทั้งหมดเลยครับ
ตอบลบ